กองทุน SPDR GOLD SHARES
ถือทองก่อนหน้า
ถือทองล่าสุด
0.00
*หน่วยตัน / ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
สถิติกองทุน SPDR
ราคาทองคำแท่ง 96.5%
ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
ครั้งที่
ราคาก่อนหน้า
ราคาล่าสุด
0
(หน่วย บาท*) / อัปเดตล่าสุดเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2566 เวลา 13:04 น.
สถิติราคาทองคำ ไทย

การใช้งาน Indicator Ichimoku Cloud

  • 0 replies
  • 10,495 views
การใช้งาน Indicator Ichimoku Cloud
« เมื่อ: 13, พฤศจิกายน 2016, 04:30:11 PM »
การใช้งาน Indicator Ichimoku Cloud
ลิขสิทธิ์ Traderider.com
ผู้แปล Mamay


Introduction

    Ichimoku Cloud หรือที่เรียกว่า Ichimoku Kinko Hyo เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพที่จะใช้ระบุแนวรับแนวต้าน ในการวิเคราะห์ทิศทาง และการหาน้ำหนักของทิศทางพร้อมกับการให้สัญญาณเทรด Ichimoku Kinko Hyo สามารถแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า  "one look equilibrium chart" หรือ กราฟดุลยภาพของราคา ซึ่งนักวิเคราะห์จะสามารถวิเคราะห์เทรนด์และมองหาสัญญาณเทรดในเทรนด์นั้นได้ Indicator ได้ถูกพัฒนาโดย Goichi Hosoda, นักเขียน ตีพิมพ์ในปี 1969 แต่อย่างนั้นก็ตาม Ichimoku Cloud อาจจะดูแล้วซับซ้อนเมื่อมองมันบนกราฟราคา มันค่อนข้างตรงไปตรงมาจริง ๆ แล้ว มันถูกสร้างโดยนักเขียน ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์ ยิ่งไปกว่านั้นแนวคิดการสร้างค่อนข้างง่ายและเข้าใจได้ ซึ่งสัญญาณก็ให้ได้ดี

การคำนวณ

    เครื่องมือในนั้นของ  Ichimoku Cloud  อยู่บนพื้นฐานของราคา High Low ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น อันแรกเป็น ค่าเฉลี่ย ของ High 9 วันและ Low 9 วัน ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะมีใช้มีต้องคำนวณง่ายในการคำนวณราคา High Low เฉลี่ยนี้ ซึ่งใน Ichimoku Cloud ประกอบด้วย กราฟ 5 แบบ :

Tenkan-sen (Conversion Line): (9-period high + 9-period low)/2))
การตั้งค่าปกติ คือ 9 และสามารถปรับได้ ในกราฟ รายวัน เส้น คือเส้นตรงกลางของ 9 วัน high low range ซึ่งใช้เวลาทั้งหมดเกือบ 2 สัปดาห์ 

Kijun-sen (Base Line): (26-period high + 26-period low)/2))
การตั้งค่าปรกติคือ 26 และตั้งค่าในกราฟรายวัน และเส้นตรงกลางของ 26 วันของราคา high low ซึ่งรวมเวลากว่า 1 เดือน

Senkou Span A (Leading Span A): (Conversion Line + Base Line)/2))
เป็นจุดกึ่งกลางระหว่าง เส้น  Conversion Line และ  Base Line.
ซึ่ง Leading Span A ทำให้เกิด ก้อนเมฆสองก้อน และมันเป็นสัญญาณเทรด ซึ่ง Plot 26 วัน ซึ่งทำให้เกิดก้อนเมฆขึ้นมา

Senkou Span B (Leading Span B): (52-period high + 52-period low)/2))
ในกราฟรายวัน เส้นนี้อยู่ตรงกลางของระยะเวลา 52 วัน ของราคา high และ low ที่ใช้คำนวณ
ซึ่งระยะเวลารวมน้อยกว่า 3 เดือน ซึ่งค่าเดิมคือ 52 แต่ว่าสามารถตั้งค่าได้ค่าจะตั้ง 26 แท่งในอนาคตและสร้างกรอบในอดีตอีก 26 แท่ง

Chikou Span (Lagging Span): Close plotted 26 days in the past
ค่ามาตรฐานคือ 26 แต่สามารถปรับได้ 


    กราฟข้างล่างแสดงให้เห็นดัชนีอุตสาหกรรม Dow Industrials พร้อมกับ Ichimoku Cloud  เส้น Conversion Line (blue) เป็นเส้นที่เคลื่อนไหวเร็ว จะเห็นว่าราคามนจะเคลื่อนไหวตามราคามากที่สุด เส้น  Base Line (red) วิ่งตาม  Conversion Line แต่ก็ตอบสนองต่อราคาอย่างดี ความสัมพันธ์ระหว่าง  Conversion Line และ Base Line  คล้ายคลึงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่า MA 9 และ 26 MA ค่า MA 9 นั้นเร็วกว่าและใกล้เคียงกว่า เพราะว่า 26 วววันมันช้ากว่า 9 วัน และจะเห็นว่า ค่า 9 และ 26 นั้นใช้ในการคำนวณ MACD เหมือนกัน



การวิเคราะห์ ก้อนเมฆ (Analyzing the Cloud)

    ก้อนเมฆ (Cloud) หรือ Kumo เป็นรูปแบบที่โดดเด่นของ  Ichimoku Cloud plots ช่วง Leading Span A (สีเขียว) และ  Leading Span B (สีแดง) เรียกว่า Cloud  ในช่วง  Leading Span A เป็นค่าเฉลี่ยของ  Conversion Line และ  Base Line  เพราะว่า  Conversion Line และ  Base Line จะถูกคำนวณด้วยค่า 9 และ 26  ตามลำดับ ขอบเมฆสีเขียวจะเคลื่อนไหวเร็วกว่าสีแดงดเพราะว่ามันเป็นค่าเฉลี่ย 52 วันของราคา Low มันเป็นหลักการเดียวกับค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่  ค่า MA ที่สั้นจะค่อนข้างไวกว่าค่าที่เยอะกว่า
   
    มีสองวิธีที่จะระบุ Trendโดยใช้ Cloud ขั้นแรก Trend เป็นขาขึ้นเมื่อราคาอยู่เหนือ Cloud ลงเมื่อราคาต่ำกว่า Cloud เทรนดจะลง และเมื่อมันราบ ราคาอยู่ใน Cloud  สอง เทรนด์ขาขึ้นนั้นนชัดเจนเมื่อ Leading Span A(  Cloud สีเขียว)  นั้นสูงขึ้นเหนือ Leading Span B( Cloud สีแดง) ซึ่งสถานการณ์นี้สร้าง เมฆสีเขียว ในทางกลับกัน เทรนด์ขาลงก็จะเกิดแรงหนุนเมื่อ Leading Span A( เมฆสีเขียว) นั้นลดลงและต่ำกว่า Leading Span B( สีแดง) ซึ่งสถานการนี้สร้าง (เมฆสีแดง) เพราะว่า  Cloud มันยกไปข้างหน้า 26 วันและมันยังให้แนวรับแนวต้านสำหรับราคาในอนาคต



    กราฟที่ 2 แสดง หุ้น  IBM  ซึ่งเกิดเทรนด์ขาขึ้นและมี Cloud เกิดขึ้น อย่างแรกจะเห็นว่า IBM จะอยู่ในเทรนด์ขาขึ้นตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือน มกราคม และมันซื้อขายอยู่เหนือ Cloud อย่างที่สอง จะเห็นว่า Cloud สร้างแนวรับในเดือน กรกฎาคม ในช่วงต้นเดือนตุลาคมและต้นเดือน พฤศจิกายน  อย่างที่สาม จะเห็นว่า Cloud สร้างแนวต้านในอนาคตไว้ด้วย ข้อควรจำก็คือ Cloud นั้นจะยกไปข้างหน้า 26 วัน หมายความว่า มันใช้ค่า 26 วันในการคำนวณราคาสุดท้ายเพื่อทำนายแนวรับแนวต้านในอนาคต

    กราฟที่ 3 แสดงหุ้น  Boeing (BA) พร้อมกับ เทรนดขาลง และ Cloud เทรนด์เปลี่ยนเมื่อ Boeing ทะลุกลุ่ม Cloud ลงมาข้างล่าง ในเดือนมิถุนายน กลุ่ม Cloud เปลี่ยนจากสีเขียวไปยังสีแดงเมื่อ Leading Span A (สีเขียว) เคลื่อนต่ำกว่า Leading Span B (สีแดง) ในเดือนกรกฎาคม จากการที่ทะลุกลุ่มเม"นี้ทำให้เกิดสัญญาณเทรนด์เปลี่ยนแปลง ขณะที่สีเปลี่ยนแสดงถึงสัญญาณที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง จะเห็นว่าราคามีปฏิกิริยากับแนวต้านในเดือน สิงหาคม และเดือน มกราคม

เทรนด์และตัวให้สัญญาณ

    ราคา  เส้น  Conversion Line และเส้น Base Line  ถูกใช้ในการวิเคราะห์ความเร็ว ความถี่และสัญญาณ มันเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องจำว่า สัญญาณตลาดกระทิงจะเข้ามาเมื่อราคาอยู่เหนือกลุ่ม Cloud และ Cloud เป็นสีเขียว สัญญาณหมี จะเกิดเมื่อราคาอยู่ต่ำกว่ากลุ่ม Cloud และ Cloud เป็นสีแดง หรืออีกแง่หนึ่ง สัญญาณตลาดกระทิงจะเกิดขึ้นเมื่อมีเทรนด์เกิดขึ้น (ราคาสูงกว่า Clod สีเขียว) ขณะที่สัญญาณหมีจะเกิดเมื่อเทรนด์ใหญ่ขาลงเกิดขึ้น (ราคาลงต่ำกว่า Cloud สีแดง) ซึ่งเพราะว่านี่เป็นเรื่องสำคัญใกนาเรทรดในทิศทางที่ใหญ่กว่า สัญญาณจะเป็นสัญญาณเทรดตรงข้ามจะอ่อนตัวลง ขณะที่สัญญาณตลาดกระทิงระยะสั้นภายในเทรนด์ขาลงและขาขึ้นจะแกว่งตัวในสัญญาณระยะยาวและผันผวนน้อยกว่า

Conversion-Base Line Signals

    ในกราฟที่ 4 ในหุ้น  Kimberly Clark (KMB)  ได้สร้างสัญญาณตลาดกระทิงอยู่ สองสัญญาณในเทรนด์ขาขึ้น อย่างแรกเทรนด์ขาขึ้นเพราะว่า หุ้นเทรดเหนือ Cloud และ Cloud เป็นสีเขียว  Conversion Line  จะลดลงต่ำกว่า Base Line เล็กน้อยในเดือนมิถุนายนทำให้เกิดการ Set up ของพฤติกรรมราคา การเกิดสัญญาณตัดกันทำให้เกิดขาขึ้นเมื่อเส้น Conversion Line เคลื่อนไหวขึ้นสูงกว่า Base Line ในเดือน กรกฎาคม สัญญาณที่สองเกิดขึ้นเมื่อราคาหุ้นลดต่ำลงสู่แนวรับ   Conversion Line  เคลื่อนไหวต่ำกว่า เส้น Base Line  ในเดือน กันยายน  ทำให้เกิดสัญญาณ ส่วนอีกสัญญาณภาวะตลาดกระทิง ส่งผลเมื่อ Conversion Line เคลื่อนย้ายสูงกว่า  Base Line ในเดือนตุลาคม บางครั้งมันยากที่จะตัดสินจุดไหนของ Conversion Line และ  Base Line บนพฤติกรรมราคา

    ชาร์ทที่ 5 แสดง  AT&T (T) กำลังสร้างสัญญาณ ตลาดหมีภายในเทรนด์ขาลง อย่างแรก เทรนด์เป็นขาลงเมื่อราคาลดต่ำกว่า Cloud  และ  Cloud  เป็นสีแดง หลังจากที่ Sideway เกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม Conversion Line เคลื่อนสูงกว่า  Base Line  ทำให้เกิดจุดเข้า แต่มันก็ไม่ได้เกิดนานมากเนื่องจาก  Conversion Line เคลื่อนไหวย้อนกลับลงมาต่ำวก่า  Base Line ทำให้เกิดสัญญาณตลาดหมีในเดือนกันยายน วันที่ 15

สัญญาณ Price-Base Line Signals

    กราฟที่ 6 แสดงหุ้น  Disney  สร้างสัญญาณตลาดกระทิงสองจุด ในขาขึ้น เมื่อราคาซื้อขายสูงกว่า Cloud และมันเป็นสีเขียว ราคาเคลื่อนไหวต่ำกว่า the Base Line (red) ทำให้เกิด Set up ซึ่งการเคลื่อนไหวนี้แสดงการเคลื่อนไหวสัญญาณ oversold ระยสั้นภายในเทรนด์ขาขึ้นขนาดใหญ่  เมื่อมันย้อนกลับขึ้นไปอีกครั้งทำให้ราคาเคลื่อนไหวสูงกว่า Base Line ทำให้เกิดสัญญาณซื้อ

    กราฟที่ 7 แสดงหุ้น  DR Horton (DHI) ทำให้เกิดสัญญาณหมีสองครั้งภายในเทรนด์ขาลง ด้วยหุ้นเทรดต่ำกว่า กลุ่มเมฆสีแดง ราคาเคลื่อนไหวกลับสูงกว่าเส้น  Base Line (สีแดง) ทำให้เกิดสัญญาณขึ้น ซึ่งจุดนี้สร้าง Overbought ในระยะสั้นในเทรนด์ขาลงเทรนด์ใหญ่ การแกว่งตัวจบเมื่อราคาย้อนกลับต่ำกว่า  Base Line ทำให้เกิดสัญญาณตลาดหมี

สรุปการดูสัญญาณ

    บทความนี้แสดงสัญญาณตลาดกระทิง 4 แบบและตลาดหมี 4 แบบมาจาก e Ichimoku Cloud  และสัญญาณการเทรดตามเทรนด์โดยใช้ Turning และ Base Lines โดยทั่วไป การเคลื่อนไหวสูงกว่าหรือต่ำกว่ารูปแบบ Cloud เทรนด์ภาพรวมภายในเทรนด์ Cloud มีการเปลี่ยนแปลงสีเนื่องจกาเทรนด์กำหนดการเคลื่อนไหว เมื่อมีการวิเคราะห์เทรนด์เกิดขึ้น  Conversion Line และ  Base Line ทำหน้าที่คล้ายกับ MACD ที่แสดงสัญญาณเทรด สุดท้ายการเคลื่อนไหวของราคาที่สูงกว่าหรือต่ำกว่า Base Line จะสามารถใช้เป็นสัญญาณเข้าออกได้

สัญญาณ ตลาด Bullish  :

•   ราคาเคลื่อนไหวสูงกว่า  Cloud (trend)
•   Cloud เปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีเขียว (ebb-flow within trend)
•   ราคาสูงกว่า  Base Line (momentum)
•   Conversion Line เคลื่อนที่สูงกว่า Base Line (momentum)


Bearish Signals:

•   ราคาเคลื่อนไหวต่ำกว่า Cloud (trend)
•   Cloud เปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีแดง (ebb-flow within trend)
•   ราคาเคลื่อนไหวต่ำกว่า  Base Line (momentum)
•   Conversion Line เคลื่อนไหวต่ำกว่า Base Line (momentum)


สรุป

    Ichimoku Cloud เป็นเครื่องมือที่สามารถเข้าใจได้ ออกแบบมาเพื่อที่จะสร้างสัญญาณซื้อขายที่ชัดเจน นักเทรดสามารถตัดสินเทรนด์โดยใช้ Cloud และเทรนด์เกิดขึ้นก็สามารถหาสัญญาณเทรดโดยใช้ Conversion Line และ  Base Line ในการเทรดได้ สัญญาณที่ต้องมองหาคื อการตัดกันของ  Conversion Line ตัดกับ  Base Line. ซึ่งสัญญาณมีประสิทธิภาพและสามารถเกิดขึ้นได้ยากในเทรนด์ชัดเจน
สิ่งสำคัญคือ ให้หาสัญญาณในทิศทางเทรนด์ชัดเจน ขณะที่ Cloud ทำหน้าที่เป็นแนวรับสำหรับขาขึ้น เทรดเดอร์ก็ต้องระวังการเกิดขาลงเช่นกัน ในทางกลับกันขาลงก็ควรจะใช้สัญญาณตลาดหมีเมื่อ Could เกิดการแกว่งตัว

     Ichimoku Cloud  สามารถใช้ร่วมกับ indicator อื่นด้วย เทรดเดอร์สามารรถใช้วิเคราะห์เทรนด์และใช้ Cloud กับ เครื่องมืออื่น ๆ ในการวิเคราะห์จุด Overbought หรือ Oversold ได้เช่นกัน.




ลิขสิทธิ์ Traderider.com
ผู้แปล Mamay