กองทุน SPDR GOLD SHARES
ถือทองก่อนหน้า
ถือทองล่าสุด
0.00
*หน่วยตัน / ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
สถิติกองทุน SPDR
ราคาทองคำแท่ง 96.5%
ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
ครั้งที่
ราคาก่อนหน้า
ราคาล่าสุด
0
(หน่วย บาท*) / อัปเดตล่าสุดเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2566 เวลา 13:04 น.
สถิติราคาทองคำ ไทย

✅✅EUR/USD FOREX จันทร์ 25 พฤษภาคม 2020 ขึ้นยานแม่กันหมดแล้วบินได้^_^

  • 34 replies
  • 7,806 views
อ้างจาก: admin ที่ 25, พฤษภาคม  2020, 09:55:24 PM
อ้างจาก: Jitta.R ที่ 25, พฤษภาคม  2020, 09:51:14 PM
อ้างจาก: admin ที่ 25, พฤษภาคม  2020, 09:38:31 PM
ยังได้อยู๋ ครับ

็Hea** ็Hea**
สวัสดีครับแอด 🙏🏼รบกวนช่วยดูGu ให้หน่อยครับยัง sell ได้ อยู่มั่ยครับ. ขอบคุณครับ



ได้ครับ รอเข้า ตรง 1.2225
Tho*/ Tho*/
ขอบคุณครับผม🙏🏼 TKo*)

*

PoNgPk

  • 6,100
  ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกที่ต้องระวัง: ช่วงนี้ตัวเลขเศรษฐกิจไตรมาส 1 เริ่มมีการรายงานออกมาจากประเทศต่างๆ ซึ่งตัวเลขชี้ให้เห็นชัดเจนถึงผลกระทบที่รุนแรงของวิกฤติโควิด-19

ที่มีต่อเศรษฐกิจทั่วโลก การขยายตัวของเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 1 ในทุกประเทศอุตสาหกรรมหลักออกมาติดลบ เช่น สหรัฐ-4.8% กลุ่มสหภาพยุโรป-3.8% อังกฤษ-2.2% เท่ากับ เยอรมนี อิตาลี-4.7% และหนักสุดฝรั่งเศส-5.8% สำหรับเอเชีย การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนไตรมาสแรก ติดลบ 6.8% ญี่ปุ่น-3.4% และไทยที่เพิ่งประกาศตัวเลขอาทิตย์ที่แล้ว ติดลบ1.8%

นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นในช่วง 3 เดือนแรกของปี และช่วงไตรมาส 2 คือเดือนเม.ย. ถึง มิ.ย. การหดตัวของเศรษฐกิจคงจะมีมากขึ้น จากมาตรการล็อคดาวน์เศรษฐกิจที่เกือบทุกประเทศใช้ ทำให้คาดการณ์ได้ว่าการขยายตัวของเศรษฐกิจในไตรมาส 2 จะติดลบมากกว่าไตรมาส 1 ในทุกประเทศ และการที่เศรษฐกิจขยายตัวติดลบต่อเนื่องกัน 2 ไตรมาส ถือเป็นภาวะถดถอยทางเศรษฐิจ หรือ Recession ดังนั้นชัดเจนว่าเศรษฐกิจโลกขณะนี้กำลังอยู่ในภาวะถดถอย

คำถามคือ ภาวะถดถอยนี้จะนานแค่ไหน และจะแย่กว่านี้หรือไม่ในช่วงครึ่งหลังของปี

อาทิตย์ที่แล้ว กรรมการผู้อำนวยการไอเอ็มเอฟ ให้สัมภาษณ์ว่า ตัวเลขเศรษฐกิจที่ออกมาจากหลายประเทศชี้ว่าผลกระทบของวิกฤติโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจโลกนั้น รุนแรงกว่าที่ได้คาดการณ์ไว้ ทำให้อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกปีนี้จะออกมาต่ำกว่าที่คาดไว้เดิม คืออาจติดลบถึง 3% ทำให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกปีหน้ามีความไม่แน่นอน และอาจลากยาวกว่าที่ประเมินไว้ หมายความว่าการฟื้นตัวแบบตัววี ในช่วงครึ่งหลังของปีนี้อาจไม่เกิดขึ้น ตรงกันข้ามการฟื้นตัวจะใช้เวลาและอาจลากยาวถึงปีหน้า แต่จะยาวแค่ไหนคงขึ้นอยู่ว่าจากนี้ไปจะมีปัจจัยลบอื่นๆ หรือไม่ ที่จะเข้ามากระทบเศรษฐกิจ รวมถึงความเข้มแข็งของนโยบายที่ภาคทางการของประเทศต่างๆ จะดำเนินการที่จะมีผลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ

ในประเด็นนี้ ถ้าจะเข้าใจง่ายๆ ก็คือ จากจุดนี้ที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มกลับมาใหม่ หลังจากประเทศต่างๆ เริ่มผ่อนคลายมาตรการล็อคดาวน์ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีมากขึ้นควรทำให้เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปแต่จะไปได้ดีหรือเร็วแค่ไหน จะขึ้นอยู่กับปัจจัยและความเสี่ยงต่างๆ ที่จะเข้ามากระทบเศรษฐกิจจากนี้ไป รวมถึงนโยบายของภาคทางการที่จะออกมา

นี่คือ ความเสี่ยง คือจะมีปัจจัยลบอีกหรือไม่ที่จะเข้ามากระทบเศรษฐกิจทำให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจถูกกระทบ ทำให้การฟื้นตัวสะดุดและต้องล่าช้าออกไป

ในเรื่องนี้ อาทิตย์ที่แล้ว องค์กรเวิลด์ อีโคโนมิค ฟอรรัม(World Economic Forum) ได้ออกรายงานผลสำรวจความเห็น นักบริหารความเสี่ยงมืออาชีพทั่วโลก 350 คน ว่า ประเมินความเสี่ยงที่จะมากระทบเศรษฐกิจและธุรกิจจากนี้ไปอย่างไร โดยเฉพาะในปีนี้ ซึ่งคำตอบที่ได้คือ สิบความเสี่ยงสำคัญที่ภาคธุรกิจให้ความสำคัญขณะนี้เรียงตามลำดับดังนี้

หนึ่ง.ภาวะเศรษฐกิจถดถอยที่ลากยาว สอง ภาวะล้มละลายในภาคธุรกิจทั้งบริษัทใหญ่ และธุรกิจเอสเอ็มอี สาม อุตสาหกรรมสำคัญที่อาจไม่สามารถฟื้นตัวได้ เช่นธุรกิจการบิน สี่ การว่างงานที่สูงและนาน โดยเฉพาะคนหนุ่มสาว ห้า การจำกัดการเดินทางและการเคลื่อนย้ายสินค้าข้ามพรมแดน หก ปัญหาหนี้และฐานะการคลังของประเทศ โดยเฉพาะจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่กำลังทำกันอยู่ เจ็ด ผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิต แปด วิกฤติเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้นในประเทศตลาดเกิดใหม่จากปัญหาหนี้ที่มีอยู่ เก้าการระบาดของอาชญากรรมไซเบอร์และการขโมยข้อมูล สิบ การระบาดรอบ 2 ของโควิด-19 หรือโรคระบาดอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้น

นี่คือความเสี่ยงที่ภาคธุรกิจกังวล ซึ่งถ้าเกิดขึ้นโดยเฉพาะถ้าหลายความเสี่ยงเกิดขึ้นพร้อมกันก็จะทำให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจจะยากและล่าช้าออกไป เป็นความห่วงใยที่มีเหตุมีผล เพราะหลังการผ่อนปรนมาตรการปิดเมือง กิจกรรมเศรษฐกิจคงจะยังอ่อนแอ การว่างงานจะมีมากและในบางประเทศจะยืนอยู่ในระดับสูง

ขณะที่บริษัทธุรกิจเองโดยเฉพาะธุรกิจเอสเอ็มอีก็ยังอ่อนแอ บางรายสู้ไม่ไหวต้องปิดกิจการ บางอุตสาหกรรมไม่สามารถฟื้นได้เพราะประชาชนไม่ใช้จ่ายหรือเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้จ่าย เช่น การท่องเที่ยวซึ่งกระทบธุรกิจการบิน นโยบายควบคุมการระบาดระหว่างประเทศอาจกระทบการเคลื่อนย้ายสินค้าและการเดินทางข้ามพรมแดน กระทบห่วงโซ่การผลิต ทำให้การผลิตมีต้นทุนมากขึ้น หรือมีข้อจำกัดจนขยายการผลิตไม่ได้

ในบางประเทศการกู้เงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจโดยภาครัฐอาจทำให้ฐานะการคลังของประเทศอ่อนแอ และจะกระทบความสามารถในการชำระหนี้ถ้าเศรษฐกิจของประเทศไม่ฟื้นตัว ในประเทศที่ภาคเอกชนมีหนี้สูง ความอ่อนแอของเศรษฐกิจก็อาจนำไปสู่การผิดนัดชำระหนี้มากขึ้นในภาคเอกชน ซึ่งถ้าเกิดขึ้นกว้างขวางจนเป็นปัญหาเชิงระบบก็อาจนำไปสู่การเกิดเป็นวิกฤติการเงินได้

แต่ที่สำคัญที่สุด คือ ความเสี่ยงของการกลับมาระบาดรอบ 2  รอบสามของโควิด-19 หรือมีการระบาดในรูปแบบอื่นทำให้ทางการต้องกลับมาใช้มาตรการปิดเมืองเข้าควบคุมอีก ซึ่งจะกระทบการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอย่างมาก

เหล่านี้คือความเสี่ยงที่จะทำให้กระบวนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจากนี้ไปมีความไม่แน่นอนสูง เป็นเรื่องที่ทั้งภาคเอกชน และภาคทางการจะต้องตระหนักและช่วยกันระมัดระวัง เพื่อลดผลกระทบที่จะมีต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ในกรณีของเราที่ต้องระวังมาก คือการกลับมาระบาดรอบ 2 ของโควิด-19 หลังมาตรการผ่อนคลาย ซึ่งมีให้เห็นแล้วในหลายประเทศในเอเชีย ทำให้เราจะประมาทไม่ได้เพื่อป้องกันไม่ให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจถูกกระทบ

เศรษฐศาสตร์บัณฑิต โดย ดร.บัณฑิต นิจถาวร

Source: กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
TRADE RIDER

*

admin

  • 80,664
สวัสดี ตอนเช้า วันอังคาร ครับผม
**hulk3**
"เอาชนะใจตัวเองให้ได้ ก่อนที่จะไปเอาชนะตลาด"

อ้างจาก: admin ที่ 26, พฤษภาคม  2020, 07:45:50 AM
สวัสดี ตอนเช้า วันอังคาร ครับผม
**hulk3**

สวัสดีครับ เปิดเช้ามาด้วยแท่งขาวสดใส
xc4*

*

admin

  • 80,664
อ้างจาก: Nameless ที่ 26, พฤษภาคม  2020, 08:49:04 AM
อ้างจาก: admin ที่ 26, พฤษภาคม  2020, 07:45:50 AM
สวัสดี ตอนเช้า วันอังคาร ครับผม
**hulk3**

สวัสดีครับ เปิดเช้ามาด้วยแท่งขาวสดใส
xc4*

เขียวๆ ฟ้าๆ สวยๆ ยาวไปเลย ครับ

Ha)** Ha)**
"เอาชนะใจตัวเองให้ได้ ก่อนที่จะไปเอาชนะตลาด"