กองทุน SPDR GOLD SHARES
ถือทองก่อนหน้า
ถือทองล่าสุด
0.00
*หน่วยตัน / ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
สถิติกองทุน SPDR
ราคาทองคำแท่ง 96.5%
ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
ครั้งที่
ราคาก่อนหน้า
ราคาล่าสุด
0
(หน่วย บาท*) / อัปเดตล่าสุดเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2566 เวลา 13:04 น.
สถิติราคาทองคำ ไทย

วิเคราะห์แนวโน้มกราฟ FOREX EUR/USD ศุกร์ 17 สิงหาคม 2018 EU บินซะดีๆพี่จะได้ทุบแบบไม่เกรงใจใคร ^_^

  • 121 replies
  • 22,951 views
*

Waarrii

  • 1,331
อะไรกัน หมดแรงแล้วรึงายยยย
T*/- T*/-
สวยใสไร้สติ🎵🎵

*

admin

  • 80,663
อ้างจาก: Waarrii ที่ 17, สิงหาคม  2018, 06:20:52 PM
อะไรกัน หมดแรงแล้วรึงายยยย
T*/- T*/-

นี่หรือวันศุกร์
**6004**
"เอาชนะใจตัวเองให้ได้ ก่อนที่จะไปเอาชนะตลาด"

พยายามกระดื๊บ กระดื๊บ กว่าจะไปได้แต่ละแท่ง..แต่บินไม่แข็ง แรงไม่มี.. xc8* xc8* xc8*
2 อย่าง ที่เป็นปัญหา..จะหาข้อมูล ถาม หรือปรึกษาใครก็ไม่ได้ ต้องแก้ไขด้วยตัวเอง
" ความโลภ ได้ตามที่ควรจะได้แล้วไม่พอ "
" OVT โอเวอร์เทรดตลอด "
แก้ไขได้เมื่อไหร่ พอร์ตจะใหญ่ กำไรจะอยู่นาน..

*

Gamezxii

  • 1,624
Uc ทุบแรงมากแอดด น้อง eu บินไปไม่ถึงเลย รอทุบอยู่  ))/*

ไปแล้ว ไปแล้ว...เจอ บ่น เข้าไป.. ็Hea** ็Hea** ็Hea**
2 อย่าง ที่เป็นปัญหา..จะหาข้อมูล ถาม หรือปรึกษาใครก็ไม่ได้ ต้องแก้ไขด้วยตัวเอง
" ความโลภ ได้ตามที่ควรจะได้แล้วไม่พอ "
" OVT โอเวอร์เทรดตลอด "
แก้ไขได้เมื่อไหร่ พอร์ตจะใหญ่ กำไรจะอยู่นาน..

*

preme.hovichitr

อ้างจาก: Lil Mayfly ที่ 17, สิงหาคม  2018, 07:54:19 PM
ไปแล้ว ไปแล้ว...เจอ บ่น เข้าไป.. ็Hea** ็Hea** ็Hea**
e


เกี่ยวได้เลยช่ายไหมคั ตอนนี้ อิอิ

*

admin

  • 80,663
"เอาชนะใจตัวเองให้ได้ ก่อนที่จะไปเอาชนะตลาด"


*

PoNgPk

  • 6,099
(Aug 17) ใครได้-ใครเสียวิกฤติค่าเงินตุรกี: การอ่อนค่าลงอย่างรุนแรงของ"ลีรา"ตุรกีช่วงสองสามวันก่อนที่สร้างความปั่นป่วนแก่ตลาดเงิน ตลาดหุ้น และตลาดทุน ทั่วโลกแม้ว่าผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ ไม่คิดว่าวิกฤติที่ตุรกีเผชิญจะจุดชนวนนำไปสู่วิกฤติการเงินโลกรอบใหม่แต่ก็ ไม่ควรประมาทเพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้ ในยุคโลกาภิวัฒน์ มาดูกันว่าใครได้ประโยชน์ และใครสูญเสียประโยชน์บ้างจากวิกฤติค่าเงินและเศรษฐกิจ ที่มีสาเหตุมาจากการ เปิดฉากทำสงครามการค้ากับสหรัฐ
         
ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐและตุรกี ดำเนินมาถึงจุดต่ำสุด ตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษที่ 2493 เป็นต้นมา หลังจากสหรัฐประกาศ คว่ำบาตรรัฐมนตรีมหาดไทยและยุติธรรมของตุรกีเมื่อวันที่ 1 ม.ค.ที่ผ่านมา พร้อมอายัด ทรัพย์สินในสหรัฐของบุคคลทั้งสอง และยัง ห้ามชาวอเมริกันทำธุรกรรมใดๆ กับรัฐมนตรีทั้งสองคน
         
ถือเป็นมาตรการคว่ำบาตรที่สหรัฐไม่เคยทำกับตุรกีมาก่อน ซึ่งแน่นอนว่า รัฐบาลตุรกีตอบโต้ในทันที ด้วยการใช้ มาตรการคว่ำบาตรแบบเดียวกันกับรัฐมนตรีมหาดไทยและยุติธรรมของสหรัฐ พร้อมทั้งอายัดทรัพย์สินทั้งหมดของ บุคคลทั้งสองในตุรกี
         
แต่การคว่ำบาตรเจ้าหน้าที่ของทั้งสองฝ่าย มีขึ้นหลังจากที่ตุรกีไม่ยอมปล่อยตัวบาทหลวง แอนดรูว์ บรุนสัน ชาวอเมริกันที่ถูกกล่าวหา ว่าเป็นอาชญากรก่อการร้ายและสายลับ ด้วยการให้การช่วยเหลืออิหม่ามเฟตุลเลาะห์ กูเลน ซึ่งถูกทางการตุรกีกล่าวหาว่าอยู่ เบื้องหลังการก่อรัฐประหารเมื่อปี 2559 จนต้องลี้ภัยไปสหรัฐ
         
ตามมาด้วยคำประกาศของโดนัลด์ ทรัมป์ ผ่านทวิตเตอร์เมื่อวันที่ 10 ส.ค.ให้เก็บภาษีนำเข้าเหล็กและอลูมิเนียมจาก ตุรกีเพิ่มสองเท่า สืบเนื่องจากที่ค่าเงินลีราของตุรกีอ่อนค่าลงอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่แข็งมาก ทำให้อัตราภาษี นำเข้าเหล็กอยู่ที่ 50% และอลูมิเนียม อยู่ที่ 20%
         
นักวิเคราะห์เชื่อว่า ความสัมพันธ์ที่ย่ำแย่ลงของสหรัฐและตุรกี เป็นผลพวง สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งที่ดำเนินมา อย่างต่อเนื่องระหว่างรัฐบาลสองประเทศในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย ที่แตกต่างกันเกี่ยวกับซีเรีย การที่สหรัฐปฏิเสธ ส่งตัวนายเฟตุลเลาะห์ กูเลน นักการศาสนาอิสลาม ซึ่งลี้ภัยอยู่ในสหรัฐ กลับไปดำเนินคดี ในตุรกี รวมทั้งประเด็นที่ตุรกีซื้อระบบขีปนาวุธ เอส-400 จากรัสเซีย
         
กระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐ ระบุเมื่อเดือนมิ.ย.ว่า ตุรกีเป็นผู้ผลิตเหล็กรายใหญ่อันดับ 8 ของโลก และเป็นตลาดนำเข้าเหล็ก รายใหญ่อันดับ 7 ของสหรัฐและในทางกลับกัน สหรัฐเป็นตลาดส่งออกเหล็กที่ใหญ่ ที่สุดของตุรกี ด้วยยอดส่งออก 11% ของยอดส่งออกทั้งหมด การขึ้นภาษีครั้งนี้ของ สหรัฐจึงมีผลกระทบอย่างมากต่อตุรกี และมากเกินกว่าที่ใครจะคาดคิด ซึ่งอุตสาหกรรมทั้งสองประเภทนี้ เป็นผู้เสียประโยชน์อันดับแรก
         
ต่อมาคือค่าเงินลีรา ที่ทรุดตัวลงตั้งแต่ปีที่ผ่านมาเกือบ 40% โดยไม่ได้มีชนวนเหตุมาจากรอยร้าวล่าสุดในความสัมพันธ์ทาง การทูตและเศรษฐกิจกับประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐเท่านั้น แต่ยังเป็นเพราะเศรษฐกิจของตุรกีเอง ซึ่งหลังจากเติบโตต่อเนื่อง มาหลายปี ก็เริ่มส่งสัญญาณต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงความเปราะบาง ไม่ว่าจะเป็น อัตราเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้น การขาดดุลบัญชี เดินสะพัด และการที่รัฐบาลตุรกีใช้ งบประมาณจำนวนมากในการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมทั้งการที่นายเรเซป เตย์ยิป เออร์ดวน เข้าแทรกแซงนโยบายการเงินของธนาคารกลาง   "เดวิด พอลล็อก" นักวิชาการอาวุโสจากสถาบันวอชิงตันด้านตะวันออกใกล้ ให้ความเห็นว่า การคว่ำบาตรไม่ได้เกิดจากสาเหตุทางเศรษฐกิจ แต่เป็นนโยบายต่างประเทศ การที่ประธานาธิบดีสหรัฐมีปฏิบัติการที่แข็งกร้าวต่อการจับกุมตัว บาทหลวงบรุนสัน ก็ไม่ใช่เพียงเพราะบาทหลวงเป็นพลเมืองอเมริกัน หากแต่เป็น การทำเพื่อเอาใจกลุ่มชาวคริสเตียน ซึ่งถือเป็นฐานเสียงที่สำคัญของทรัมป์ด้วย
         
ส่วนผู้เสียประโยชน์ลำดับต่อมาในวิกฤตินี้คือบริษัทสัญชาติตุรกี เพราะ การดิ่งลงของค่าเงินลีรา ย่อมส่งผลกระทบ ต่อบริษัทของตุรกีที่ต้องชำระหนี้ใน สกุลเงินต่างประเทศ ซึ่งประมาณการว่า น่าจะมีมูลค่ามากกว่า 2 แสนล้านดอลลาร์ และด้วยเหตุที่ตุรกี พึ่งพาการนำเข้าพลังงานอย่างมาก จึงมีความเสี่ยงสูงว่าผู้บริโภค ในประเทศจะต้องเผชิญหน้ากับการ ขึ้นราคาสินค้าและบริการในอีกไม่นาน นับจากนี้แน่นอน เท่ากับเป็นผู้เสียประโยชน์อีกกลุ่มถัดจากบริษัทตุรกี
         
หากตุรกี ไม่สามารถชำระหนี้ได้ก็จะเกิดปัญหาหนี้ในระดับที่รุนแรงขึ้น และส่งผลกระทบต่อธนาคารที่เป็นเจ้าหนี้ ในยุโรป เช่น ฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน ซึ่งบรรดานักลงทุนทั่วโลก ต่างแสดง ความวิตกกังวลกับปัญหานี้ว่า อาจส่ง ผลกระทบแบบโดมิโน และลุกลามกลายเป็น วิกฤติเศรษฐกิจโลกได้ในท้ายที่สุด ถึงแม้ว่าตอนนี้ยังไม่มีใครบอกได้ว่าเศรษฐกิจตุรกีจะไปถึงจุดนั้นหรือไม่ แต่สถานการณ์ที่ย่ำแย่นี้ก็ส่งผลกระทบต่อราคาหุ้นของธนาคารยุโรปหลายแห่งแล้วในขณะนี้
         
ส่วนผู้ได้ประโยชน์ที่ชัดเจนจากสถานการณ์นี้คือ ดอลลาร์สหรัฐ ที่ดีดตัวแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักทั่วโลก เพราะบรรดานักลงทุนมองว่าเป็นแหล่ง ลงทุนที่ปลอดภัย และอานิสงส์จากภาวะ ขาขึ้นของอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด)ซึ่งความต้องการเข้าซื้อสินทรัพย์สหรัฐของบรรดานักลงทุนจากกระแสตื่น จากวิกฤติตุรกีที่เกิดขึ้น ทำให้ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นในสัดส่วนกว่า 4% แล้วในปีนี้
         
กล่าวได้ว่านี่คือการเปิดศึกอีกหน้า ของผู้นำสหรัฐ ในช่วงที่สงครามการค้ากับจีนก็ยังคาราคาซังกันอยู่ โดยเมื่อ วันศุกร์ (10 ส.ค.)ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีตุรกี ออกมาเรียกร้องให้ชาวตุรกีแปลงสกุลเงินดอลลาร์และทองคำให้อยู่ในรูปสกุล เงินลีรา เพื่อพยุงค่าเงินของประเทศ ที่กำลังร่วงลงอย่างหนัก ทั้งยังบอกว่า ตุรกีกำลังเผชิญสงครามเศรษฐกิจ แต่ก็จะตอบโต้ประเทศที่เป็นฝ่ายเริ่มก่อสงคราม ดอลลาร์ไม่สามารถสกัดการขยายตัวของตุรกีได้     อย่างไรก็ตาม แม้ขณะนี้ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐและตุรกีจะอยู่ในสถานการณ์ตึงเครียดขั้นรุนแรง แต่ผู้เชี่ยวชาญส่วนหนึ่ง ยังคงมีมุมมองที่เป็นบวกว่า สองพันธมิตรนาโตจะสามารถประนีประนอมกันได้ ในที่สุด
         
"ผมไม่คิดว่า ตุรกีจะแตกแยกเด็ดขาดกับสหรัฐ" ฮูเซยิน บ๊ากชี ศาสตราจารย์ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก "มิดเดิลอีสต์ เทคนิคัล ยูนิเวอร์ซิตี" ให้ความเห็นพร้อมทั้งตบท้ายว่า ทั้งสองฝ่ายจะสามารถกอบกู้ความสัมพันธ์ที่เสียหายให้กลับคืนมาได้ โดยเปรียบเทียบว่า การตอบโต้กันไปมาที่เพิ่มระดับความรุนแรงนี้ เป็นเหมือนไฟไหม้ป่า แต่เขามองเห็นว่า กำลังจะมีน้ำมาดับไฟในเร็วๆ นี้
         
Source: กรุงเทพธุรกิจ
TRADE RIDER


*

Waarrii

  • 1,331
ไม่คิดจะขึ้นไปถึงซิกหน่อยเหรอคะพี่ขาาาา เดี๋ยวนี้เมินซิกแอดตลอดๆ เลย
T*/- T*/-
สวยใสไร้สติ🎵🎵

ผมคิดว่าอาทิตย์หน้ามีเทขายแน่

*

admin

  • 80,663
"เอาชนะใจตัวเองให้ได้ ก่อนที่จะไปเอาชนะตลาด"

*

amboo69

อรุณสวัสดีครับทุกท่าน  **11 **11

*

admin

  • 80,663
อ้างจาก: AmBoo ที่ 17, สิงหาคม  2018, 09:26:39 PM
อรุณสวัสดีครับทุกท่าน  **11 **11

พึ่งตื่นเหรอครับท่าน
็Hea** ็Hea**
"เอาชนะใจตัวเองให้ได้ ก่อนที่จะไปเอาชนะตลาด"