กองทุน SPDR GOLD SHARES
ถือทองก่อนหน้า
ถือทองล่าสุด
0.00
*หน่วยตัน / ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
สถิติกองทุน SPDR
ราคาทองคำแท่ง 96.5%
ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
ครั้งที่
ราคาก่อนหน้า
ราคาล่าสุด
0
(หน่วย บาท*) / อัปเดตล่าสุดเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2566 เวลา 13:04 น.
สถิติราคาทองคำ ไทย

การใช้งาน Indicator Coppock Curve

  • 0 replies
  • 1,537 views
การใช้งาน Indicator Coppock Curve
« เมื่อ: 13, พฤศจิกายน 2016, 04:04:35 PM »
การใช้งาน Indicator Coppock Curve
ลิขสิทธิ์  Traderider.com
ผู้แปล Mamay

บทนำ

    Coppock Curve เป็นเครื่องมือ Momentum Indicator ซึ่งพัฒนาโดย  Edwin "Sedge" Coppock ซึ่งเป็นนักเศรษฐศาสตร์  Coppock ได้นำเสนอตัวชี้วันในนิตยาสาร  Barron's ในเดือน  October 1965 เป้าหมายของ indicator นี้คือการวิเคราะห์ในระยะยาว เพื่อหาโอกาสซื้อในดัชนี S&P 500 และ  Dow Industrials  สัญญาณนั้นค่อนข้างง่าย  Coppock ใช้กราฟรายเดือนในการวิเคราะห์โอกาสเข้าซื้อเมื่อเครื่องมือเคลื่อนไหวจากแดนลบไปยังแดนบวก แม้ว่า Coppock ไม่ได้ใช้เครื่องมือในการส่งสัญญาณ Sell แต่ว่านักเทรดหลายคนก็สามารถใช้ในการตัดจากแดนบวกมายังแดนลบเพื่อหาสัญญาณ Sell ได้

การคำนวณ

        Coppock Curve = 10-period WMA of 14-period RoC + 11-perod RoC
   WMA = Weighted moving average
   RoC = Rate-of-Change

     Rate-of-Change indicator เป็นเครื่องมือประเภท momentum oscillator ที่แกว่งตัวเหนือและต่ำกว่าเส้น 0 Coppock ใช้ระยะเวลา 11 และ 14 period จากการอ้างอิงใน Episcopal priest นี่คือค่าเฉลี่ยของการอยู่ในระยะเวลาเศร้าเมื่อคน ๆ คน หนึ่งสูญเสียผู้เป็นที่รัก Coppock ให้หลักการว่าช่วงการฟื้นตัวจากการที่ตลาดหุ้นขาดทุนก็เช่นกัน



    Rate-of-Change indicators จะถูกปรับให้เรียบด้วยค่า  moving average ตามที่ชื่อของมันคือ weighted moving average  ให้น้ำหนักมากกว่าบนน้ำหนักที่เป็นค่าปัจจุบันและให้น้ำหนักน้อยในค่าอดีต ตัวอย่างเช่น  3-period WMA จะคูณด้วยค่าแรกด้วย 1 และค่าที่ 2 คูณด้วย  2 ค่าที่ 3 (ค่าปัจจุบัน) คูณด้วย 3 ผลรวมของตัวเลขสามตัวนี้จะหารด้วย 6 ซึ่งเป็นผลรวมของค่าน้ำหนัก (1 + 2 + 3) ในการสร้างค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ตารางข้างล่างแสดงการคำนวณใน Excel ประกอบ


สัญญาณ

    การใช้ข้อมูลรายเดือน ในเครื่องมือนี้จะทำให้ไม่มีสัญญาณซื้อขายมากนักสัญญาณซื้อตัดเมื่ออยู่ในแดนบวก ขณะที่สัญญาณขายตัดทำให้เกิดสัญญาณ Sell เข้าแดนลบ ไม่แปลกใจเลยที่มีสัญญาณเทรดแค่ 5 ครั้งในปี 1980 และกราฟข้างล่างแสดงถึงสัญญาณสุดท้ายในปี 1988 ซึ่งเกิดหลังจากวิกฤติในปี 1987


    นักเทรดที่ตามสัญญาณ Sell 2 อันจะต้องหลีกเลี่ยงสัญญาณตลาดหมี 2 อัน  ในเดือน February 2001 สัญญาณ Sell จะต้องหลีกเลี่ยงการ Sell ในตลาดหมีตั้งแต่ปี  2000 ถึง  2002 สัญญาณเดือน  June 2008 ทำให้นักลงทุนออกก่อนที่ตลาดจะลงต่อในครึ่งหลังของปี 2008 สัญญาณขายนี้สามารถใช้เป็นจุดออกจากตลาดหุ้นแล้วซึ่งต่อมาทำให้ตลาดลงอย่างรุนแรง

ความยืดหยุ่น

    อย่างที่ได้กล่าวไว้แต่แรก  Coppock Curve นั้นเป็นเครื่องมือ  smoothed momentum oscillator ส่วนตัว Rate-of-Change indicator จะวัดโมเมนตั้งและใช้ค่า weighted moving average ในการทำข้อมูลให้เรียบ หมายความว่า  indicator สามารถใช้กับ Time Frame ไหนก็ได้ ไม่ว่าจะเป็น Intraday, daily และ  weekly ก็สามารถใช้ตามสไตล์ได้เลย กราฟข้างล่างแสดง  Coppock Curve ใช้กราฟรายสัปดาห์กับ  Dow Industrial อย่างที่คาดไว้ กราฟรายสัปดาห์ให้สัญญาณถี่ขึ้นกว่ากราฟเดือน


    นอกจากนี้ใน Time Frame ต่าง ๆ สามารถใช้ปรับเครื่องมือให้เร็วหรือช้าได้ การตั้งค่า Rate-of-Change สั้นจะทำให้  Coppock Curve อ่อนไหวต่อราคาเร็วกว่า และถ้าตั้งค่านานก็จะทำให้อ่อนไหวต่อราคาน้อยมาก กราฟข้างล่างแสดง  daily สำหรับดัชนี Nasdaq 100 ETF (QQQ) และ e Coppock Curve (20,10,10) ซึ่งการตั้งค่านี้ทำให้  Coppock Curve มีความผันผวนน้อย ซึ่งอาจจะเหมาะสำหรับกราฟรายวัน


สรุป

    Coppock Curve เป็นเครื่องมือประเภท  smoothed momentum oscillator แม้ว่ามันจะออกแบบมาเพื่อใช้กราฟรายเดือนและระยะยาว แต่ว่าสามารถใช้กราฟ intraday, daily หรือ weekly และการตั้งค่าสามารถปรับให้เหมาะกับแต่ละสไตล์ได้ สัญญาณหลักจะเกิดจากการตัดกันลงต่ำหรือสูงกว่าเส้น 0 สำหรับเทรดเดอร์ที่อยากจะเทรดเดอร์สำหรับภาวะกระทิงและตลาดหมี ข้อควรระวัง การตัดกันไม่ใช่จะบอกการกลับตัวเสมอไป เพราะเทรนด์สามารถเกิดเทรนด์ต่อได้



ลิขสิทธิ์  Traderider.com
ผู้แปล Mamay