กองทุน SPDR GOLD SHARES
ถือทองก่อนหน้า
ถือทองล่าสุด
0.00
*หน่วยตัน / ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
สถิติกองทุน SPDR
ราคาทองคำแท่ง 96.5%
ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
ครั้งที่
ราคาก่อนหน้า
ราคาล่าสุด
0
(หน่วย บาท*) / อัปเดตล่าสุดเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2566 เวลา 13:04 น.
สถิติราคาทองคำ ไทย

Forex Grade 13 # กลยุทธ์การตั้ง TP เเละ Stop loss โดยอาศัยพฤติกรรมราคา

  • 3 replies
  • 33,381 views
*

clessmdx

ขออนุญาติ admin ลงบทความเรื่อง พฤติกรรมราคา  เพื่อการตั้ง Tp เเละ stop loss ครับ ไว้เป็ฯความรู้ให้กับเพื่อนๆได้พิจารณาครับ **hulk3** **hulk3**


stop loss หรือ take profit  ตามนิยามคือ

- stop loss จุดขาดทุน  คือ จุดที่เรายอมขาดทุน ยอมเสียเงิน เพื่อที่จะไดไม่เจ็บตัวไปมากกว่านี้    โดยทั่วไปมักเป็นจุดที่เราคิดว่ากราฟไม่น่าจะมาถึง     ในบทความนี้จะกล่าวพึงว่ากลยุทธ์ในการวางจุด SL ที่ดีควรจะวางยังไง

- Take profit จุดที่ทำกำไร  คือ จุดที่เราคาดการว่าราคาสินค้าหรือ ค่าเงินจะขึ้นไปถึงจุดๆนั้น เราคาดการเเล้ววางไว้เป็นจุดทำกำไรของเรา  ในบทความนี้เราจะกล่าวถึงกลยุทธ์ในการคาดการว่าจุดใดกราฟน่าจะมาถึง   


เราควรมีความรู้พื้นฐานเรื่องพฤติกรรมราคาเบื้องต้นก่อนครับ  ดังนี้

สำหรับผม  คนเขียนบทความ  ได้เเบ่งพฤติกรรมราคาออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ   คือ พฤติกรรมราคาที่เป็นเทรน  เเละพฤติกรรมราคาที่กระทำต่อเเนวรับ-เเนวต้าน

พฤติกรรมราคาที่เป็นเทรน  ก็เเยกเป็น 2 อย่างอีก
1. การย่อระหว่างเทรนเเบบง่ายๆ(Trend Pull back)
2.การย่อระหว่าเทรนเเบบดูยาก(Trend Complex pullback)

พฤติกรรมราคาที่กระทำต่อเเนวรับ-เเนวต้าน ก็เเยกเป็นชนิดย่อยๆอีก 3 ชนิด
1. การทดสอบเเนวรับ-เเนวต้านเเล้วไม่ผ่าน(Test Support-Resistance)
2. การเบรคเอาท์จริง (True Breakout)
3.การเบรคเอาท์หลอก(ฺFake Breakout) 

เพื่อนๆต้องมีความรู้ในเรื่องพฤติกรรมคารา ที่ผมจะกล่าวถึงต่อไปนี้  เเล้วนำความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อวางจุด SL เเละ TP ครับ  ดังนี้

เด๋วมาพิมพ์ต่อ

*

clessmdx

1.รูปเเบบเเรก การทดสอบเเนวรับ-เเนวต้าน (TST) 

ถ้าเราจะเข้าออเดอร์เเบบคิดว่ากราฟนี้จะไม่ผ่านเเนวรับเเนวต้าน     

จุดที่ควรเข้าออเดอร์คือ  จุดที่คิดว่ากราฟจะกลับตัว หรือ เริ่มกลับตัว   หรือมีสัญญาณกลับตัว   

จุด Stop loss คือจุดที่ราคาไม่น่าจะผ่านไป หรือ บริเวณ เหนือเเนวต้าน หรือใต้เเนวรับนั่นเอง   


2. รุปเเบบการเบรคเอาท์ไม่ผ่าน    (BOF)

กราฟเบรคเอาท์ไม่ผ่านคือ กราฟที่ได้เเหย่ทะลุเเนวรับเเนวต้านไปเเล้ว เเต่ดันมีเเรงซื้อ-ขายกลับมาในบริเวณอีกครั้งเเละกลับตัวไป 

เราเข้าออเดอร์เมื่อ   เห็นว่าราคากลับลงมาที่เดิมเเละ ทำท่าว่าจะกลับตัวเเละวิ่งออกจากเเนวรับ -เเนวต้านนั้น   

จุด Stop loss คือ บริเวณเหนือเเนวต้าน หรือใต้เเนวรับนั้นๆ 

3. รูปเเบบการเบรคเอาท์จริง  (ฺBPB)
กราฟเบรคเอาท์จริงคือ กราฟที่ได้เเหย่ทะลุเเนวรับเเนวต้านไปเล้ว เเละมีการย่อเล็กน้อยหนึ่งจังหว่ะ ก่อนที่กราฟจะพุ่งไปต่อตามเทรนไป  เราเข้าออเดอร์เมื่อเห็นว่ากราฟนั้นน่าจะเบรคเอาทืจริง เเละรอจังหว่ะที่กราฟย่อเล็กน้อย เเล้วเข้า

จุด stop loss คือ บริเวณที่ ใต้ เเนวต้านหรือเเนวรับนั้นๆ 




4. รูปเเบบการย่อในเทรนเเบบง่าย 

เมื่อกราฟเกิดเป็นเทรนขึ้นไป ไม่ว่าจะ เป็นขาขึ้นหรือขาลง    มันจะมีการย่อเสมอ    ถ้า H4ไม่ย่อ ก็ย่อ H1     
ถ้า H1 ไม่ย่อก็ย่อ  M30  เเละเล็กๆลงไป เกิดเป็นรูปเเบบ wave มีจุดต่ำสุด มีจุดสูงสุดของคลื่น 

โดยจุดต่ำสุดของคลื่น เรียก swing Low 
จุดต่ำสุดของคลื่น เรียก swing high


พฤติกรรมของกราฟ คือ  เมือเกิดเทรนขาขึ้น   กราฟจะค่อยๆพุ่งขึ้นไป  โดยมีการย่อกราฟเป็นคลื่นขึ้นมาในTF เล็ก เเละเป็นใส้เทียนในTF ที่ใหญ่ขึ้น โดยมีลักษณะเฉพาะคือ swing low  จะค่อยๆสูงขึ้นมา   

เเละขาลง    กราฟจะค่อยๆ ดิ่งลงมา โดยมาการย่อกราฟเป็นคลื่นขึ้นมาในTF เล็กๆ  เเละเป็ฯใส้เทียนใน TF  ที่ใหญ่ขึ้น   โดยมีลักษณะเฉพาะ คือ swing High จะค่อยๆต่ำลง 

สังเกตุว่า    ในขาขึ้น เราสามารถคาดการจุดswing ของกราฟ ได้  โดยวัดจากจุด swing high หรือ swing low  ในรอบก่อนๆดังนี้   


กราฟมักจะ สวิงโดยจุดต่ำสุดมักจะเป็นจุดสูงสุดของกราฟเดิม

กำหนดจุดเข้าออเดอรืที่swing High เดิม หรือ low เดิม

TP ที่ swing high ใหม่
SL ใต้ swing low เดิม ตามรูปเลยครับ




อันนี้กราฟจริง 

*

eltoap