กองทุน SPDR GOLD SHARES
ถือทองก่อนหน้า
ถือทองล่าสุด
0.00
*หน่วยตัน / ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
สถิติกองทุน SPDR
ราคาทองคำแท่ง 96.5%
ราคาอ้างอิงล่าสุดจากสมาคมค้าทองคำ
ครั้งที่
ราคาก่อนหน้า
ราคาล่าสุด
0
(หน่วย บาท*) / อัปเดตล่าสุดเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2566 เวลา 13:04 น.
สถิติราคาทองคำ ไทย

market structure คืออะไร วิธีการอ่าน market structure สำหรับเทรดตามเทรนด์

  • 0 replies
  • 2,819 views
market structure คืออะไร วิธีการอ่าน market structure สำหรับเทรดตามเทรนด์

เมื่อราคาวิ่งไปทางใดทางหนึ่ง ราคาได้สร้าง highs และ Lows ได้ด้วย และพวกนี้ก็จะกลายเป็นแนวรับ-แนวต้านแบบอัตโนมัติที่เกิดขึ้น โดยการดูพวกนี้ก็จะดูความสัมพันธ์กับร่องรอยเก่า หรือพื้นที่ Highs/lows ที่เกิดขึ้น ถ้าเกิดพื้นที่เดียวกันตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป ตามหลัก technical analysis ก็เรียกพื้นที่แนวรับ-แนวต้าน แต่ถ้าพอเป็นราคาสร้างพื้นที่ high/low ได้ เปิดเผยความไม่สมดุลย์แรงๆ มุ่งเน้นการเข้าเทรดอีกรอบ ทาง technical analysis ก็เรียกหลักการเทรดแบบนี้ว่า supply/demand  โดยหลักการออเดอร์ทำงานแบบเดียวกันหมด

Market structure เทรนทำให้เทรดเทรนได้ง่าย


เมื่อราคาวิ่งไป ได้สร้าง high/low ได้ด้วยการที่จะกำหนดเป็นทรนได้ ก็ต่อเมื่อเห็นราคาได้เบรค highs/lows และไปต่อ ทำ high/low ใหม่ได้ การเบรคด้วย Momentum และราคาสามารถปิดทางที่เบรคไปได้ และไม่มีหางบาร์หรือแท่งเทียนด้วยยิ่งดี เพราะบอกถึง momentum ในการเทรดทางนั้นๆ มาก ดูที่เลข 1 จะเห็นว่า ก่อนที่ราคาจะเบรคที่เลข 2 ตรงนี้ราคาได้ทำ high ในที่นี้คือ lower high มองมาทางช้ายพื้นที่ราคาทำ high จะเห็นว่ามีร่องรอย low ก่อน และราคาได้เบรคลงมา จะเห็นว่าราคาได้กลับมาพื้นที่หลังจากที่ราคาเบรค Low ลงไปถึง 2 ครั้งตามกรอบที่ตีไว้ แต่ราคาไม่สามารถทำ low ใหม่ได้ ดังนั้น กรอบ Low ด้านล่างกลายมาเป็น support ทันที นี่คือจุดแรกของการอ่านแนวรับ-แนวต้าน เพื่อกำหนดการเบรคเพื่อราคาจะได้ทำเทรน เพราะส่วนสำคัญของการทำเทรนคือ ราคาเบรค high หรือ low ที่เกิดขึ้นแล้วทำ high หรือ low ใหม่

จุดต่อมาหลังจาก high/low คือราคาเบรค High หรือ low ได้หรือเปล่า และถ้าได้เบรคอย่างไรและราคาปิดอย่างไร ดังนั้นการมอง market structure จากชาร์ตที่ยกมาประกอบจะง่ายขึ้นมาทันที อย่างชาร์ตที่ยกมาประกอบ พอเบรคเกิดขึ้นที่เลข 2 ด้วย momentum แท่งเทียนยาวๆ และราคาสามารถปิดทางที่เบรคได้ด้วย เป็นข้อมูลสำคัญแรกที่เห็น  แต่ถ้ามองที่เส้นที่กำหนด swing high/low ประกอบ จะเห็นว่าราคาสามารถทำ higher low ก่อนที่เลข 3 แต่ที่ไม่ได้โฟกัสเพราะไม่ได้เกิดมาจากการเบรคและย่อตัวลงไป เพราะส่วนสำคัญของเทรนคือการเบรค แต่พอราคาเบรคที่เลข 2 ขึ้นไป ยืนยันว่าขาใหญ่เข้าเทรดพื้นที่ข้างล่างเลยดันราคาเพื่อจะทำเทรน ดันราคาไปทางที่พวกเขาเปิดเทรด ดังนั้นจุดที่ราคาเบรค high จึงเป็นจุดอ้างอิงที่ขาใหญ่จะเทรดอีกรอบได้ หรือไม่ต้องการให้ราคาดันลงมาเบรคจุดที่พวกเขาเทรด และขณะเดียวกัน ยังได้ใช้ประโยชน์จากเทรดเดอร์ที่เทรด sell ตรงที่ resistance ด้วย ถ้าหลังจากเบรคราคาลงมาทำ high low อย่างที่เลข 3 และเห็นราคาขึ้น trapped traders พวกนี้จะออก และก็เลยกลายเป็นจุดที่จะกำหนด trade setup เพื่อจะเทรดตามเทรนที่มาจากการอ่าน market structure ได้ง่ายๆ ด้วย แบบที่เทรดเดอร์ที่เทรดตามเทรนรอเข้าเทรด เพราะ market structure บอก พร้อมทั้งใช้ความเข้าใจเรื่องออเดอร์ประกอบ


เมื่อท่านกำหนดเทรน หรือบอกได้ว่าราคาทำเทรน ตามที่อธิบายด้านบน การเปิดเทรดตามเทรนเป็นเรื่องง่ายเพราะ ท่านจะหาจุดเข้าเทรดตามเทรนได้ง่าย เพราะอิงจุดที่ราคาได้เบรค high หรือ low หรือที่เป็นแนวรับ-แนวต้านอัตโนมัติ

ความเป็นไปได้สูงเพราะแหล่งที่มาของออเดอร์

เมื่อเปิดเทรดแล้วราคาวิ่งไปทางที่เปิดเทรด แสดงว่าออเดอร์ทางที่เปิดเทรดมีออเดอร์เกินอีกข้าง หรือมีความไม่สมดุลย์เกิดขึ้นอย่างที่อธิบายมา ตัวแปรสำคัญของเทรนอยู่ที่เบรคด้วย momentum และปิดทางนั้นๆ ด้วยหรือ Impulsive move ดังนั้นตอนที่ราคาทำ impulsive move ได้ทำให้เกิด traded traders ด้วย และยังส่งข้อมูลใหม่ออกไปที่เทรดเดอร์ที่รอเข้าเทรด เมื่อเห็นก็จะหันมาเทรดตาม และเมื่อขาใหญ่มีส่วนทำให้ impulsive move เกิดขึ้นก็จะไม่ให้ราคาเบรคลงมาได้ เงื่อนไขพวกนี้มีแต่ทำให้เกิด buy market orders เป็นหลัก เลยทำให้การเทรดเทรนแบบนี้มีความเป็นไปได้สูงขึ้นมาด้วย


อีกตัวอย่าง ดูจุด high/low ประกอบ มองจุดที่บอก เริ่มต้นตรงนี้  หลักการวิเคราะห์ก็จะมองมาทางช้ายเพื่อดูว่าราคาได้เกิดแนวรับ-แนวต้านตรงไหน ก็จะเป็นการดู High/low ที่ใกล้สุด ก็จะมีการตีกรอบประกอบ เพราะการมองมองแนวรับ-แนวต้านต้องมองเป็นพื้นที่หรือ clustering เช่นถ้าเป็น Limit orders อย่างด้านของฝั่ง resistance ก็เป็นพื้นที่ของ sell limit orders  การที่ราคากลับมา นอกจากเรื่องของการเด้งหรือ rejection ที่เป็นตัวยืนยัน แนวต้านยังเป็นการใช้ไปของ sell limit orders พวกนั้นด้วย นั่นคือความสำคัญของอาการที่ราคาเด้งหรือเบรคอย่างที่อธิบายไว้ เมื่อตีกรอบพื้นที่ประกอบท่านจะเห็นว่า Lower high แรก เป็นการที่ราคากลับมาหา high หรือพื้นที่แนวต้านนั่นเอง ดังนั้นถ้า high หรือ resistance ตรงนั้นแข็งพอก็จะดันลงมาเกิน low ที่ตอนราคาดันลงมาตอนแรกได้ ถ้าการเด้งลงมาครั้งที่ 2 ลงมาต่ำกว่าได้ก็ยังมองว่าเทรนลงอยู่ แต่ราคามาแถวเดิมแล้วหยุด และราคาขึ้นไปทำ Lower high อีก แต่ยังไม่สามารถเบรค Low ลงไปได้  โอกาสเทรดเกิดขึ้นเมื่อราคาเบรค lower high ที่เป็น resistance ได้ ท่านจะเห็นว่าราคาย่อตัวลงมา ถ้าเทียบกับเส้นที่บอกเริ่มต้นจะเห็นว่า ด้านช้ายคือ market structure เทรนลง แต่ราคาไม่สามารถเบรค Low ได้ มองเรื่องการพัฒนาการของเทรน การย่อตัวและการเด้งบอกถึง trading pressure และการใช้ไปของออเดอร์ประกอบกันทั้งหมด พอมามองทางขวามือที่ราคาเบรคขึ้นไปด้วยการเอาชนะ เลยทำให้การเทรดตามเทรนนั้นเทรดได้ง่ายและเป็นไปได้สูง เพราะตัวต้านหรือ market structure ด้านช้ายขาลงเปิดเผยว่าไม่มี sell  orders มากพอ เพราะมีการหยุดราคาได้ พอมีการเบรคขึ้นมาได้ เลยบอกข้อมูลว่าขาใหญ่เปลี่ยนข้าง ก็เลยทำให้เทรดได้ง่ายขึ้น